Healthy Living Video

  • การผ่าตัด...ชุบชีวิตใหม่ได้อย่างไร

    วันที่ปวดท้อง ไม่ได้นึกถึงโรงพยาบาลอื่นใดเลย นึกถึงแต่นนทเวชอย่างเดียว เพราะเป็นคนไข้ที่นี่มาหลายปี เรารักษาที่นนทเวชทั้งครอบครัว อยู่ใกล้บ้านด้วย และมั่นใจว่านนทเวชมีอุปกรณ์พร้อม เห็นทีมแพทย์ทำงานและเห็นความใส่ใจของพยาบาล ก็คิดว่าเราต้องมาที่นี่ 

  • เช็คสัญญาณเสี่ยงเตือน แค่ท้องผูก...หรือลำไส้อุดตัน ‼

    เช็คสัญญาณเสี่ยงเตือน แค่ท้องผูก...หรือลำไส้อุดตัน / ไม่ถ่าย ไม่ผายลม / ท้องโต / คลื่นไส้ อาเจียน / ปวดท้อง
  • อุปกรณ์ช่วยพยุงหลัง Knight Taylor Brace ใส่อย่างไรให้ถูกต้อง และดูแลรักษาอย่างไร

    สำหรับใครที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลัง หรือผ่าตัดกระดูกสันหลังมาก่อน แนะนำให้ดูคลิปนี้ อุปกรณ์นี้ใช้จำกัดการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังบริเวณอกและเอว ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการเคลื่อนไหวในท่าก้มตัว แอ่นหลัง หรือเอียงตัวไปด้านข้าง  การใส่อุปกรณ์พยุงหลังต่างๆ ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือนักกายภาพบำบัดเพื่อรับคำแนะนำและแนวทางการรักษาต่อไป

  • มะเร็งไต รู้ไว รักษาได้

    ทราบหรือไม่ เนื้องอกที่ไต เป็นเรื่องที่พบบ่อยมากขึ้นในสังคมปัจจุบัน เนื่องมาจากการเข้าถึงการตรวจสุขภาพที่ง่ายขึ้น เครื่องมือทางรังสีในการวินิจฉัยทันสมัย การตรวจคัดกรองหรือการวินิจฉัยจึงแม่นยำมากขึ้น ซึ่งเนื้องอกที่พบนั้นมีทั้งที่ไม่ใช่มะเร็งและเนื้องอกมะเร็ง...

  • ใครนอนกรน...ยกมือขึ้น

    นอนกรน ‼ อันตรายอย่างไร นอนกรนเกิดจากอะไร  นอนกรนมีกี่ประเภท  อาการนอนกรนร่วมกับภาวะหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น มีอาการอย่างไร  อันตรายจากนอนกรน คืออะไร  เมื่อไหร่ควรเข้ารับการตรวจ Sleep Test  ต้องเแนวทางการรักษาการนอนกรนและภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เตรียมตัวอย่างไรก่อนเข้ารับการตรวจ Sleep Test 

  • พบ “ก้อนในเต้านม ‼” จะอันตรายหรือไม่ หรือจะกลายเป็นมะเร็งหรือเปล่าในอนาคต

    พบ “ก้อนในเต้านม‼” จะอันตรายหรือไม่ หรือจะกลายเป็นมะเร็งหรือเปล่าในอนาคต กรณีผลแมมโมแกรมและอัลตร้าซาวด์เต้านมผิดปกติต้องทำอย่างไร การเจาะชิ้นเนื้อน่ากลัวหรือไม่ ถ้าต้องการนำก้อนเนื้อในเต้านมออก ต้องทำอย่างไร
  • ศัลยกรรมพลิกชีวิต อุบัติเหตุสุนัขกัดบริเวณใบหน้า

    ศัลยกรรมพลิกชีวิต‼  อุบัติเหตุสุนัขกัดบริเวณใบหน้า  “ถ้าหากไม่ได้เจอกับคุณหมอศุภฤกษ์ หน้าตาผมคงไม่ใช่แบบนี้ การเข้าสังคมหรือใช้ชีวิตในสังคมก็คงมีปัญหา ไม่รู้ว่าชีวิตหลังจากนั้นถ้าไม่ได้เจอคุณหมอ หากปากแหว่ง หุบปากไม่ได้ หุบปากแล้วมองเห็นฟัน จะมีใครคุยกับผมบ้าง - คุณสุวิบูลย์ วิฑูรชยานนท์”

  • คุณผู้หญิงทุกคนควรเริ่มตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมตั้งแต่อายุเท่าไหร่

    7 อาการผิดปกติของเต้านมที่ควรสังเกตมีอะไรบ้าง  การทำแมมโมแกรมและอัลตร้าซาวด์เต้านม เจ็บหรือไม่  หากเสริมหน้าอก สามารถทำแมมโมแกรมได้หรือไม่  หาคำตอบได้ในรายการพุธ พา พบ แพทย์ ตอน อาการสำคัญทางเต้านม...ที่ไม่ควรละเลย ‼  พร้อมบทสัมภาษณ์ พญ.กรวรรณ จันทรจำนง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมเต้านม ศูนย์รักษ์เต้านม รพ.นนทเวช

  • เตือนภัย‼ โรคหัวใจและหลอดเลือด

    สาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนไทย เช็คด่วน ‼ สัญญาณอันตราย ภาวะหัวใจขาดเลือด >>จะทราบได้อย่างไรว่า...มีเรามีความเสี่ยงโรคหัวใจในอนาคต ?  >>การตรวจหาแคลเซียมหรือหินปูนในหลอดเลือดหัวใจคืออะไร ? >>ใครบ้างที่ควรตรวจ CT Calcium Score ?  >>ผลตรวจแบบไหนถึงมีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ?  >>โรคหัวใจ มีวิธีการรักษาอยางไร ?

  • โรคกรดไหลย้อน 20 คำถามยอดฮิต

    ตอบข้อสงสัย 20 คำถามยอดฮิตโรคกรดไหลย้อน หลังรับประทานอาหารเสร็จแล้วรู้สึกจุกๆ ที่ท้อง และแน่นตรงลิ้นปี่ เข้าข่ายเป็นกรดไหลย้อนหรือไม่ ? ถ้าควรงดชา กาแฟ มีเครื่องดื่มไหนทดแทนกันได้บ้าง ?...

  • วิธีการใช้อุปกรณ์สูดพ่นสไปรีว่า เรสพิแมท (Spiriva Respimat)

    รอบรู้ เรื่องยากับโรงพยาบาลนนทเวช วันนี้ ขอเสนอตอน วิธีการใช้อุปกรณ์สูดพ่นสไปรีว่า เรสพิแมท มีข้อสงสัยเรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร Drug Information Hotline 0-2596-7889
  • วิธีการใช้ยา ACCUHALER :

    รอบรู้ เรื่องยากับโรงพยาบาลนนทเวช วันนี้ ขอเสนอตอน วิธีการใช้ยา ACCUHALER มีข้อสงสัยเรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร Drug Information Hotline 0-2596-7889

  • กรดไหลย้อน มีวิธีวินิจฉัย และรักษาอย่างไร

    แสบร้อนบริเวณลิ้นปี่แล้วลามขึ้นมาที่หน้าอกหรือคอ ซื้อยามารับประทานเองได้ไหม เป็นกรดไหลย้อนต้องส่องกล้องหลอดอาหารและกระเพาะอาหารทุกคนหรือไม่ ทำไมไม่ควรนอนทันทีหลังรับประทานอาหารมื้อเย็น

  • เช็คสัญญาณอันตราย “โรคกรดไหลย้อน”

    เหตุใดวัยทำงาน คือ กลุ่มเสี่ยงโรคกรดไหลย้อน, กรดไหลย้อนเกิดจากอะไร?, สัญญาณเตือนโรคกรดไหลย้อนคืออะไร?, แสบร้อนบริเวณลิ้นปี่แล้วลามขึ้นมาที่หน้าอกหรือคอ ใช่อาการกรดไหลย้อนหรือไม่?

  • รับมือมหันตภัย PM 2.5 มหันตภัยร้ายที่ทำลายสุขภาพเด็ก ผู้ใหญ่ รวมทั้งผู้สูงอายุ

    รับมือมหันตภัย PM 2.5 มหันตภัยร้ายที่ทำลายสุขภาพเด็ก ผู้ใหญ่ รวมทั้งผู้สูงอายุ -ทำความรู้จักฝุ่นพิษ PM 2.5 -ระดับความหนาแน่นของฝุ่นกับผลกระทบต่อสุขภาพ -PM 2.5 อันตรายแค่ไหน มีผลเสียต่อร่างกายอย่างไร -สัญญาณบ่งบอกว่าร่างกายกำลังได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM 2.5 -กลุ่มเสี่ยงอันตรายจากฝุ่นพิษ -การดูแลการดูแลสุขภาพและการป้องกันอันตรายจาก PM 2.5 -หลากหลายประเด็นที่คุณอยากรู้ในการรับมือมหันตภัยฝุ่นจิ๋ว

  • เชื้อ Helicobacter Pylori (H. pylori)

    เชื้อ Helicobacter Pylori (H. pylori) คืออะไร / ผู้ที่ติดเชื้อ Helicobacter Pylori (H. pylori) มีอาการอย่างไร และใครบ้างที่ควรตรวจ / การตรวจหาเชื้อ Helicobacter Pylori (H. pylori) มีวิธีการอย่างไร / หากติดเชื้อ เชื้อแบคทีเรีย Helicobacter Pylori (H. pylori) มีวิธีการรักษาอย่างไร / ข้อดีของการตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย Helicobacter Pylori (H. pylori) ด้วยวิธี Urea Breath Test...

  • ปวดเข่าเวลานั่งทำงาน...ต้องทำอย่างไร

    ปัญหาปวดเข่าเวลานั่งทำงานพบบ่อยในกลุ่มใด และมีอาการอย่างไร / เข่าบวมน้ำ มีอาการอย่างไร / อาการปวดเข่าเวลานั่งทำงาน...สาเหตุเกิดจากอะไร / อาการปวดเข่า...มีวิธีการรักษาอย่างไร / วิธีการป้องกันอาการปวดเข่า...ควรทำอย่างไร / การออกกำลังกายในผู้ที่มีปัญหากระดูกอ่อนผิวข้อบริเวณสะบ้าอักเสบควรทำอย่างไร

  • นิ่วในท่อน้ำดี

    อาการปวดท้องบ่อยๆ ไม่ทราบสาเหตุ รับประทานยาแล้วไม่ดีขึ้น...คุณอาจเข้าข่าย “นิ่วในถุงน้ำดี‼” นิ่วในท่อน้ำดี คืออะไร  นิ่วในท่อน้ำดี มีอาการอย่างไร  นิ่วในท่อน้ำดี มีวิธีการวินิจอย่างไร นิ่วในท่อน้ำดี มีวิธีการรักษาอย่างไร

  • หุ่นยนต์ฟื้นฟูการเดิน SensibleStep

    คุณทราบหรือไม่ในประเทศไทย พบคนไข้ Stroke ประมาณ 200,000 ราย/ปี มีผู้ป่วยกว่า 75,000 คน มีอาการหนัก และเดินไม่ได้ หุ่นยนต์ฟื้นฟูการเดิน SensibleStep เทคโนโลยีช่วยการฟื้นฟูการเดินในผู้ป่วยให้กลับมาเดินได้กว่า 70% และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

  • แนะนำแพทย์ศูนย์กระดูกและข้อโรงพยาบาลนนทเวช

    ศูนย์กระดูกและข้อโรงพยาบาลนนทเวช ให้บริการคำปรึกษา วินิจฉัย รักษา ดูแลและฟื้นฟูทุกปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและข้อ กล้ามเนื้อ และเส้นประสาทในผู้ป่วยทุกช่วงอายุอย่างครบวงจร โดยทีมสาขาวิชาชีพที่มีความเชี่ยวชาญ อาทิ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ วิสัญญีแพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด และเภสัชกร ฯลฯ ที่มากด้วยประสบการณ์ พร้อมด้วยเทคโนโลยีเพื่อการวินิจฉัยโรคและวางแผนการรักษาที่มีประสิทธิภาพสูง

  • ต้อกระจก โรคตาร้ายแรง รู้ทันก่อนสาย อันตรายถึงขั้นตาบอด

    ใครบ้างเสี่ยงโรคต้อกระจก  การรักษาต้อกระจกด้วยวิธีการผ่าตัดดีอย่างไร  หลังจากผ่าตัดต้อกระจก สามารถมองเห็นได้ชัดเจนหรือไม่  ต้อกระจกสามารถรักษาด้วยยาสมุนไพรหรือใช้ยาหยอดตาได้หรือไม่ 

  • "รอบรู้เรื่องยา" กับโรงพยาบาลนนทเวช : วิธีการใช้ยาสูดแก้ปวด Pentrox

    รอบรู้ เรื่องยากับโรงพยาบาลนนทเวช วันนี้ ขอเสนอตอน วิธีการใช้ปากกาฉีดยา Trulicity (Dulaglutide) มีข้อสงสัยเรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร Drug Information Hotline 0-2596-7889

  • "รอบรู้เรื่องยา" กับโรงพยาบาลนนทเวช : วิธีการใช้ยาสูดพ่นชนิด MDI (Metered Dose Inhaler)

    รอบรู้ เรื่องยากับโรงพยาบาลนนทเวช วันนี้ ขอเสนอตอน วิธีการใช้ปากกาฉีดยา Trulicity (Dulaglutide) มีข้อสงสัยเรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร Drug Information Hotline 0-2596-7889
  • "รอบรู้เรื่องยา" กับโรงพยาบาลนนทเวช : วิธีการใช้ปากกาฉีดยา Trulicity (Dulaglutide)

    รอบรู้ เรื่องยากับโรงพยาบาลนนทเวช วันนี้ ขอเสนอตอน วิธีการใช้ปากกาฉีดยา Trulicity (Dulaglutide)  มีข้อสงสัยเรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร Drug Information Hotline 0-2596-7889

  • โรคเบาหวานคืออะไร มีกี่ชนิด แต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร

    คนกลุ่มไหนที่มีความเสี่ยงจะเป็นเบาหวาน เมื่อไหร่ที่ควรจะคัดกรองเบาหวาน อาการของเบาหวาน การวินิจฉัยเบาหวาน มีวิธีการอย่างไร ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานทั้งเฉียบพลันและในระยะยาว การดูแลรักษาเบาหวาน มีวิธีการอย่างไร

  • โรคเบาหวาน...ควรรับประทานอย่างไร?

    อาหารชนิดใดบ้างที่ผู้ป่วยเบาหวานควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดการรับประทาน? ข้อควรปฏิบัติในการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน มีอะไรบ้าง? อาหารแลกเปลี่ยนคืออะไร? หมวดอาหารแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยเบาหวานมีอะไรบ้าง?

  • Terrible Two คืออะไร พ่อแม่ต้องรับมืออย่างไร

    วัยทอง 2 ขวบ มีลักษณะพฤติกรรมอย่างไรบ้าง ? ทำไมเด็กจึงมีพฤติกรรมเช่นนั้น คุณพ่อ คุณแม่ จะรับมืออย่างไรดี ? หาคำตอบได้ใน สาระน่ารู้ ตอน พุธนี้ขอเสนอ เรื่อง Terrible Two คืออะไร ? พ่อแม่ต้องรับมืออย่างไร ?

  • สาระน่ารู้ “เบาหวาน...รู้ปัจจัยเสี่ยง เลี่ยงเกิดได้”

    ครอบครัวมีส่วนสำคัญในการดำเนินชีวิต ปรับพฤติกรรมและป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน หากครอบครัวใด มีคนในครอบครัวเป็นเบาหวาน และส่งเสริมการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกัน สามารถลดโรคแทรกซ้อนจากเบาหวานในผู้เป็นเบาหวาน รวมถึงลดอุบัติการณ์การเกิดโรคเบาหวานในผู้ที่ยังไม่เป็นเบาหวานในอนาคตได้ ทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคเบาหวานได้อีกด้วย
  • พุธพาพบแพทย์ : ทำไมเราต้องฉีดวัคซีนหลัก... แล้ววัคซีนเสริมสำคัญอย่างไร ?

    ทำไมเราต้องฉีดวัคซีนหลัก... แล้ววัคซีนเสริมสำคัญอย่างไร ?  ประโยชน์ของการฉีดวัคซีน ?  การฉีดวัคซีนมีผลข้างเคียงหรือหรือไม่ ?  หญิงตั้งครรภ์ ควรได้รับวัคซีนอะไรบ้าง ?  วัยรุ่น ควรได้รับวัคซีนอะไรบ้าง ?  ผู้สูงอายุ ควรได้รับวัคซีนอะไรบ้าง ?

  • พุธพาพบแพทย์ ปลดล็อค “โรคนิ้วล็อค” ด้วยการผ่าตัด ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล ตอนที่ 2

    โรคนิ้วล็อค...มีวิธีการรักษาอย่างไร ? โรคนิ้วล็อค…ไม่ผ่าตัดได้หรือไม่ ?  มีวิธีการป้องกัน “โรคนิ้วล็อค” ได้อย่างไร ?

  • ทำอย่างไร...เมื่อนิ้วล็อค? ปลดล็อค “โรคนิ้วล็อค” ด้วยการผ่าตัด ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล‼

    “โรคนิ้วล็อค” เป็นความผิดปกติของมือที่ไม่สามารถงอหรือเหยียดได้อย่างปกติ อาจเป็นนิ้วเดียวหรือหลายนิ้ว ภาวะนี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่ปลอกเอ็นบริเวณข้อโคนนิ้วหนาตัวขึ้น เอ็นบวม ทำให้ปลอกรัดเอ็นมากขึ้น อาจเกิดจากการใช้แรงงอนิ้วมากๆ หรือกำนิ้วแน่นมากๆ ทำให้เกิดการเสียดสีบริเวณปลอกหุ้มเอ็นมาก ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลง หรือการเสื่อมของเซลล์ร่วมด้วย พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และพบได้บ่อยร่วมกับโรคเบาหวาน รูมาตอยด์

  • “รอบรู้เรื่องยา” กับโรงพยาบาลนนทเวช : วิธีการใช้ปากกาลดน้ำหนัก Saxenda

    มีข้อสงสัยเรื่องยา ปรึกษาเภสัชกร Drug Information Hotline 0-2596-7889

  • พุธพาพบแพทย์ ลูกรักพัฒนาการสมวัย...พ่อแม่ต้องส่งเสริมอย่างไร?

    พัฒนาการในเด็กคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร และส่งผลสำคัญอย่างไรในอนาคต ? พัฒนาการลูกน้อยเริ่มได้ตั้งแต่เมื่อไหร่ ? พัฒนาการอย่างไรถึงเรียกว่าพฤติกรรมผิดปกติไม่สมวัยในเด็ก แล้วผู้ปกครองควรทำอย่างไร ? ลูกไม่เป็นอะไรทำไมต้องไปหา หมอพัฒนาการ ? เสี่ยงแค่ไหนเมื่อลูกมีภาวะพฤติกรรมผิดปกติแล้วไม่พบแพทย์พัฒนาการเด็ก ?

  • พุธพาพบแพทย์ "ทันตกรรมสำหรับเด็ก ยุค New Normal เป็นอย่างไร " โดย ทพญ.โสพิศสุดา สุวรรณรุ่งเรือง

    ทันตแพทย์เด็กจะตรวจอะไรบ้าง / นมจากเต้าคุณแม่ไม่ทำให้ฟันผุจริงหรือ / เด็กเล็กฟันผุได้ไหม / ฟันผุในเด็กเล็กมีลักษณะอย่างไร / ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 / สามารถพาเด็กๆ ไปหาหมอฟันได้ไหม หาคำตอบได้ในรายการพุธ พา พบ แพทย์

  • พุธพาพบแพทย์ "Stroke โรคหลอดเลือดสมองอันตราย..แต่ป้องกันได้" โดย พญ. พัชราพร วรรณกิตติ

    ผู้ป่วยที่มีอาการและอาการแสดงของโรคหลอดเลือดสมองควรได้รับการรักษาทันที หากล่าช้าเนื้อสมองจะถูกทำลายมากขึ้นส่งผลให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือเสียชีวิตได้ จึงควรได้รับการรักษาโดยตรงจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบบประสาท

  • “รอบรู้เรื่องยา” กับโรงพยาบาลนนทเวช : วิธีการใช้ยาฉีดอินซูลิน Lantus Solostar

    วิธีการฉีด การเก็บรักษายาฉีดอินซูลิน การทิ้งเข็มและอุปกรณ์ฉีดอินซูลิน...

  • “ควบคุมน้ำหนักอย่างถูกวิธี สุขภาพดีแบบยั่งยืน”

    แบบไหน เรียกว่า “อ้วน” หรือ “น้ำหนักเกิน” และ “ภาวะอ้วน/น้ำหนักเกิน” มีภาวะแทรกซ้อนอย่างไร #กลุ่มไหนบ้างที่ควรลดน้ำหนัก #วิธีการลดน้ำหนัก #ยาที่ใช้ลดน้ำหนัก เหมาะกับคนไข้กลุ่มไหน #การใช้ยาเพื่อควบคุมน้ำหนัก มีวิธีการ ระยะเวลา และมีอาการข้างเคียงอย่างไร #การดูแลให้การรักษาน้ำหนักยั่งยืน

  • พุธพาพบแพทย์ : จำเป็นไหม...ที่ต้องตรวจสุขภาพประจำปี ⁉

    การตรวจสุขภาพประจำปีจะมีประโยชน์อย่างไร ขั้นตอนและการเตรียมตัวก่อนตรวจสุขภาพมีอะไรบ้าง ควรเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพแบบไหนดี หาคำตอบได้ในรายการพุธ พา พบ แพทย์

  • "ปวดเข่า” จากการวิ่ง ต้องทำอย่างไร?

    มีอาการปวดเข่าเป็นๆ หายๆ บวมๆ ยุบๆ ทำไมวิ่งมาตลอด 2 สัปดาห์ไม่มีอาการเจ็บ แต่มีอาการหลังจากวิ่งรอบสุดท้ายทั้งที่วิ่ง 4 กม. เท่าเดิม?

  • "รอบรู้เรื่องยา" กับโรงพยาบาลนนทเวช : การใช้ยาสูดพ่นชนิด MDI (Metered Dose Inhaler) ร่วมกับ Spacer

    Spacer หรือ กระบอกพ่นยา เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นท่อกลวง ใช้ต่อกับหลอดยาสูดพ่น ประโยชน์คือสามารถช่วยส่งยาให้เข้าสู่ปอดได้ง่ายขึ้น และลดการตกค้างของยาภายในช่องปาก...
  • “รอบรู้เรื่องยา” กับโรงพยาบาลนนทเวช : การใช้ยาสเตียรอยด์พ่นจมูก AVAMYS

    โรคของจมูกบางชนิดอาจต้องใช้ยาสตีรอยด์พ่นจมูกในการรักษาเช่น โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ หรือโรคแพ้อากาศ ยาสตีรอยด์พ่นจมูกเป็นยาที่ช่วยปรับความไวของจมูกต่อสารก่อภูมิแพ้...

  • สำคัญแค่ไหน?...ต้องพบแพทย์ศัลยกรรมตกแต่งเมื่อมีแผลจากอุบัติเหตุ

    บาดแผลและแผลเป็น เป็นเรื่องเล็กหรือใหญ่ สำคัญแค่ไหน…ที่ต้องพบแพทย์ศัลยกรรมตกแต่งเมื่อมีแผลจากอุบัติเหตุหาคำตอบได้ในรายการพุธ พา พบ แพทย์

  • เสี่ยงแค่ไหน?...เมื่อท้องในวัย 35+

    เสี่ยงแค่ไหน...เมื่อท้องในวัย 35+ อายุมีผลต่อการตั้งครรภ์อย่างไร ความเสี่ยงที่พบบ่อยจากการตั้งครรภ์ในมารดาที่อายุ 35 ปีขึ้นไป หาคำตอบได้ในรายการพุธ พา พบ แพทย์

  • สาระน่ารู้ เรื่อง โรคหัวใจป้องกันได้ด้วยการตรวจสุขภาพประจำปี

    โรคหัวใจ เป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย แม้ในอดีตโรคหัวใจจะเป็นโรคที่พบเจอได้บ่อยในผู้สูงอายุ แต่ปัจจุบันกลับพบว่าคนที่อายุยังน้อยหรือวัยรุ่นก็มีความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจได้มากเช่นกัน

  • รอบรู้เรื่องยา กับโรงพยาบาลนนทเวช ตอนที่ 1

    ตอนที่ 1 การใช้ยาสูดพ่นชนิด MDI (Metered Dose Inhaler) ร่วมกับ Spacer หรือ กระบอกพ่นยา เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นท่อกลวง ใช้ต่อกับหลอดยาสูดพ่น ประโยชน์คือสามารถช่วยส่งยาให้เข้าสู่ปอดได้ง่ายขึ้น และลดการตกค้างของยาภายในช่องปาก...

  • พุธพาพบแพทย์ : โรคหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาทรักษาหายได้

    เมื่ออายุเยอะขึ้นตัวหมอนรองกระดูกอาจจะมีการเสื่อมสภาพเมื่อหมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพความแข็งแรงของหมอนรองกระดูกจะลดลง และในคนไข้ที่มีอายุเกิน 40 ปีขึ้นไปในบางครั้งที่มีการกระแทก ตัวหมอนรองกระดูกที่เสื่อมสภาพจะไม่แข็งแรงเหมือนแต่ก่อน

  • พุธพาพบแพทย์ : มะเร็งเต้านม...รู้ก่อน รักษาได้

    "มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบบ่อยเป็นอันดับ 1 ของผู้หญิงในประเทศไทย ปัจจุบันการรักษามะเร็งเต้านมมีความก้าวหน้าไปอย่างมากสามารถรักษาให้หายขาดได้ ขึ้นอยู่กับระยะโรคและชนิดของมะเร็งนะครับ เพราะฉะนั้นการตรวจมะเร็งเต้านมเพื่อให้พบมะเร็งได้ในระยะเริ่มต้นเป็นสิ่งที่ดีเพราะจะทำให้มีโอกาสหายขาดได้สูงครับ"

  • การนอนหลับแบบไหน...เข้าข่ายผิดปกติ

    การนอนหลับแบบไหนเข้าข่ายผิดปกติ ! นอนกรนเสียงดัง, หยุดหายใจขณะหลับ, สะดุ้งเฮือกระหว่างนอน นอนหลับไม่สนิท ตื่นมาแล้วไม่สดชื่น, มึนศีรษะช่วงเช้า อาการเพลียหรือง่วงช่วงกลางวัน นอนละเมอ นอนกัดฟัน ง่วงนอนกลางวันมากร่วมกับสงสัยภาวะลมหลับ

  • พุธพาพบแพทย์ : เตรียมรับมืออย่างไรเมื่อเข้าสู่วัยทอง

    "การเตรียมตัวตั้งแต่ยังไม่เข้าวัยทองเป็นอันนึงนะคะที่สำคัญ ซึ่งบางครั้งเราก็ลืมคิดไป จะมามุ่งแต่เรื่องวัยทอง การเตรียมพร้อมตั้งแต่อายุยังไม่มาก ยังไม่เข้าวัยที่ฮอร์โมนตัวนี้หยุดทำงานเป็นเรื่องสำคัญมาก"

  • โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ รักษาได้...ไม่ต้องผ่าตัด

    มีวิธีการรักษาอย่างไร ติดตามได้ในคลิปนี้

    ❤️ เพราะโรคหัวใจเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย

    ❤️ ตรวจเช็คสุขภาพหัวใจเป็นประจำปีละครั้ง เพื่อค้นหาและป้องกันอย่างทันท่วงที

  • เช็คสัญญาณเตือน...ก่อนสาย!!! โรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (Obstructive Sleep Apnea)

    โดย นพ.สิริชัย กิตติชาญธีระ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคความผิดปกติการหลับ ศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลนนทเวช

  • ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac Arrhythmia)

    โดย นพ.อิสระ นราภิรมย์สุข แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช

  • อาการสำลัก รู้เท่าทันป้องกันได้

    โดย นพ.ปรัชญา ภัสสรานนท์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคระบบการหายใจ และภาวะวิกฤตโรคระบบการหายใจ ศูนย์ระบบทางเดินหายใจ โรงพยาบาลนนทเวช

  • มะเร็งรังไข่

    เสวนาในหัวข้อ มะเร็งรังไข่ โดย นพ.ศุภชัย เรืองแก้วมณี แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านมะเร็งสตรี และการผ่าตัดผ่านกล้อง โรงพยาบาลนนทเวช

  • มะเร็งปากมดลูก

    เสวนาในหัวข้อ มะเร็งปากมดลูก โดย นพ.ศุภชัย เรืองแก้วมณี แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านมะเร็งสตรี และการผ่าตัดผ่านกล้อง โรงพยาบาลนนทเวช

  • มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก

    เสวนาในหัวข้อ มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก โดย นพ.ศุภชัย เรืองแก้วมณี แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านมะเร็งสตรี และการผ่าตัดผ่านกล้อง โรงพยาบาลนนทเวช
  • เสี่ยงแค่ไหน เมื่อท้องในวัย 35+

    ด้วยไลฟ์สไตล์ของผู้หญิงยุคใหม่ และสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป ทำให้ส่วนใหญ่แต่งงานช้าลงพร้อมตั้งครรภ์เมื่อเข้าสู่วัย 35 อัพ ซึ่งการตั้งครรภ์ตอนอายุมาก แม้ว่าการดูแลสุขภาพของคุณแม่ที่ตั้งครรภ์หลังอายุ 35 ปี จะมีความปลอดภัยมากขึ้นกว่าในอดีตก็ตาม แต่ถ้าคุณตั้งใจที่จะตั้งครรภ์หรือมีครรภ์หลังอายุดังกล่าวนี้แล้ว นับว่าเพิ่มโอกาสเสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ได้ คุณควรจะทำความเข้าใจถึงอัตราเสี่ยงหลายประการที่เพิ่มขึ้น ต่อสุขภาพของคุณแม่ และทารกในครรภ์ เพื่อลดอัตราเสี่ยง และเพิ่มโอกาสของการตั้งครรภ์คุณภาพ “แม่อยู่รอดลูกปลอดภัย”

  • เสวนาในหัวข้อเรื่อง "มะเร็งตับและมะเร็งลำไส้ ภัยร้ายใกล้ตัว"

    เสวนาในหัวข้อเรื่อง "มะเร็งตับและมะเร็งลำไส้  ภัยร้ายใกล้ตัว" โดย นพ.อานนท์ พีระกูล  อายุรแพทย์ โรคระบบทางเดินอาหาร  โรงพยาบาลนนทเวช

  • การผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช

    เสวนาในหัวข้อ การผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช โดยนายแพทย์ศุภชัย เรืองแก้วมณี แพทย์ผู้เชี่ยวชาญมะเร็งนรีเวช ศูนย์มะเร็งทางนรีเวช โรงพยาบาลนนทเวช

  • การตรวจรักษาโรคมะเร็งทางนรีเวช

    เพราะผู้หญิงในแต่ละช่วงวัยมีปัญหาเรื่องสุขภาพที่แตกต่างกัน จึงเป็นที่มาของการพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านการรักษามะเร็งทางนรีเวชของโรงพยาบาลนนทเวช ความรู้เรื่องโรคมะเร็งทางนรีเวช โดย นายแพทย์ศุภชัย เรืองแก้วมณี แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งทางนรีเวช โรงพยาบาลนนทเวช

  • โรงพยาบาลนนทเวช ก้าวสู่ปีที่ 36

    ตลอดระยะเวลา 36 ปี โรงพยาบาลนนทเวช ที่ก่อตั้งขึ้นเป็นโรงพยาบาลเอกชนที่ให้บริการรักษาพยาบาลแบบสหสาขาวิชาชีพครบทุกสาขา โดยทีมแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญและมากด้วยประสบการณ์มากกว่า 300 คน พร้อมด้วยศูนย์การแพทย์เฉพาะทางและคลินิกรักษาโรคเฉพาะทาง 27 ศูนย์การรักษา และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัยครบวงจร เปิดบริการรักษาพยาบาลทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกตลอดจนผู้ป่วยฉุกเฉิน พร้อมบริการรถพยาบาลตลอด 24 ชั่วโมง

  • ทำความรู้จักกับมาตรฐาน HA (Healthcare Accreditation)

    HA (Healthcare Accreditation) คือ การรับรองจากภายนอกเพื่อกระตุ้นให้สถานพยาบาลพัฒนาคุณภาพ และความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย โดยอาศัยมาตรฐานที่อิงหลักการสากลเป็นกรอบในการพัฒนา ความ "มั่นใจ" การกร...
  • รู้ไหม นอนกรน เสี่ยงต่อภาวะ หยุดหายใจขณะนอนหลับ

    รู้ไหม นอนกรน เสี่ยงต่อภาวะ หยุดหายใจขณะนอนหลับ สัมภาษณ์พิเศษในรายการบันเทิงปากม้า โดย นพ.สิริชัย กิตติชาญธีระ อายุรแพทย์ระบบประสาท ศูนย์ตรวจการนอนหลับ (Sleep Lab Center) โรงพยาบาลนนทเวช เรื่อง : การน...